Last updated: 17 ต.ค. 2566 | 377 จำนวนผู้เข้าชม |
โดยมีการพัฒนากระบวนการทำงานใน 4 มิติ ได้แก่ 1) การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่ายนอกกระทรวงสาธารณสุข 2) การสร้างระบบการให้บริการที่มีมาตรฐาน 3) การทำงานเชิงรุกในพื้นที่ดึงผู้ใกล้ชิดมาเป็นผู้เฝ้าระวัง โดยเพิ่มความรู้และเพิ่มทักษะดูแลและให้คำปรึกษา และ 4) การพัฒนาฐานข้อมูลและการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
.
โดยผลการศึกษาสามารถสะท้อนการพัฒนาการทำงานป้องกันการฆ่าตัวตายภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติรวมถึงจุดแข็งและข้อจำกัดของการดำเนินงาน ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางการปรับกลยุทธ์ และกำหนดนโยบายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันและรูปแบบการฆ่าตัวตายที่เปลี่ยนไป
.
อ่านเพิ่มเติมทาง : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmht/article/view/261254
.
#cite
สมัย ศิริทองถาวร, สรรกมล กรนุ่ม, ศุภเสก วิโรจนาภา, เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์, สุวิมล อินทร์เชื้อ, เพชรลดา บริหาร, และคณะ. การวิจัยประเมินผลยุทธศาสตร์การป้องกันการฆ่าตัวตายระดับชาติ พ.ศ. 2560 - 2565. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2566;31(1):64-78.
.
#การป้องกัน #ฆ่าตัวตาย #ประเมินผล #ยุทธศาสตร์ #วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย #ข่าวเผยแพร่วิชาการสุขภาพจิต